คำอธิบาย
ชุดผลักชิ้นงาน สเต็ปมอเตอร์ Electric Pusher Rejector DC12V ชุดผลักชิ้นงาน push rejected แบบสเตปมอเตอร์ สำหรับผลักชิ้นงาน ดันและดึงกลับ ใช้สเตปมอเตอร์ เป็นระบบไฟฟ้า ทดแทนกระบอกสูบลม สามารถปรับความเร็ว และระยะชักได้ 8 ซม ควบคุมด้วยบอร์ด Arduino Nano มีสวิตช์กดให้ดันและดึงกลับเองอัตโนมัติ มอเตอร์พิกัดกระแส Rated Current 0.6 A Holding Torque 0.12Nm
Dimension
- กว้าง x ยาว x สูง = WxLxH = 6cm x 22cm x 14.5cm
มีอะไรเตรียมไว้ให้ในชุด
- ชุดผลักชิ้นงานไฟฟ้าสเตปมอเตอร์ Electric Pusher Rejector 12VDC
- แหล่งจ่ายไฟอะแดปเตอร์ / AC-DC Adaptor 12V พร้อมใช้งาน
การทำงานชุดผลักชิ้นงานแบบใช้ไฟฟ้า
- การควบคุม Rejector-Electrical แบบแมนวล โดยสวิตช์ สวิตช์กดติดปล่อยดับ จะถูกต่อคร่อมไว้ที่ Pin D12 และ กราวน์ GND ของ CNC Shield (ตำแหน่ง Spin Enable)
- เมื่อกดสวิตช์ Pin D12 ของ Arduino NANO จะถูกต่อลงกราวน์เป็นการสั่งให้ชุดผลักชิ้นงานทำงาน (Active Low) ชุดผลักชิ้นงานจะดันออกและดึงกลับ
การสั่งให้ชุดผลักชิ้นงานทำงาน (Active Low)
- const int buttonPin0 = 12; // Switch Digital Pin Arduino NANO
- const int buttonPin1 = 9; // Switch Digital Pin Arduino NANO
การปรับความเร็ว
- stepper.set MaxSpeed(20000.0); //ปรับความเร็ว
- stepper.set Acceleration(50000.0); //ปรับความเร่ง
การปรับระยะชัก
- stepper.runToNewPosition(430); // ปรับระยะชัก
โปรแกรม Arduino บน Rejector
- Code Arduino_Rejector สำหรับโปรแกรมลงตัวบอร์ด Nano บนตัว Rejector ทางร้านได้โปรแกรมไว้ให้แล้ว
- ติดตั้ง libraries AccelStepper https://www.arduinolibraries.info/libraries/accel-stepper
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 |
#include <AccelStepper.h> AccelStepper stepper(AccelStepper::DRIVER, 5, 2); // Define a stepper and the pins it will use const int buttonPin2 = 9; // Define (X+, X-) Switch active Low //const int buttonPin2 = 10; // Define (Y+, Y-) Switch active Low //const int buttonPin3 = 11; // Define (Z+, Z-) Switch active Low const int buttonPin1 = 12; // Define D12 Switch active Low const int buttonPin5 = 13; // Define D13 Switch active Low int buttonState = 0; char OK_flag = 0; int count = 0; void setup(){ pinMode(8, OUTPUT); digitalWrite(8, LOW); // enable stepper.setMaxSpeed(20000); // adjust speed ปรับความเร็ว stepper.setAcceleration(3000); // Adjust the acceleration ปรับอัตราเร่ง pinMode(buttonPin1,INPUT_PULLUP); pinMode(buttonPin2,INPUT_PULLUP); stepper.setCurrentPosition(180); stepper.runToNewPosition(0); } void loop(){ //buttonState = digitalRead(buttonPin1); if ((digitalRead(buttonPin1) == LOW)||digitalRead(buttonPin2) == LOW ) { delay(1); count++; if ((digitalRead(buttonPin1) == LOW)||digitalRead(buttonPin2) == LOW &&count >=20) { OK_flag = 1; digitalWrite(8, LOW); // enable count =0; } } if(OK_flag==1) { digitalWrite(8, LOW); // enable stepper.runToNewPosition(430); // ปรับระยะชัก 430 stepper.runToNewPosition(0); OK_flag = 0; } else { digitalWrite(8, HIGH); // Disable } } |
การใช้งานร่วมกับ Arduino
การใช้ Arduino ควบคุมทำได้โดย ให้ Logic Low หรือ 0V ควบคุมขา D9 (X+) ก็ได้ หรือ D12 ก็ได้ บนแผงควบคุมของชุดผลักชิ้นงาน
การใช้งานร่วมกับ PLC แบบ รีเรย์ Relay Output
การใช้ PLC ควบคุมทำได้โดยการตัดต่อ รีเรย์ เพื่อกด ต่อลงกราวด์ ควบคุมขา D9 (X+) ก็ได้ หรือ D12 ก็ได้ บนแผงควบคุมของชุดผลักชิ้นงาน
โดยตั้งเวลา กดสวิทช์ Timer 100mS หรือ K10 = Timer 100mS
หมายเหตุ K100 = Timer 1 Sec
การแก้ปัญหาสัญญาณรบกวน ทำให้ตัวผลักชิ้นงาน ทำงานโดยไม่ได้สั่ง
รีวิว
ยังไม่มีบทวิจารณ์